การรับฟังความคิดเห็นทั่วไป

จากผู้ให้บริการ ปีงบประมาณ 2560

ข้อเสนอแนะจากผู้ให้บริการ ดูภาพรวมประเด็นฯทั้งหมด

ข้อเสนอแนะจากผู้ให้บริการ

Hearing Group: ผู้ให้บริการ ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า กทม.

test2566

การบริหารจัดการกองทุน
 

dadasdsadadadasd


ศบส.  test2566  เมื่อวันที่ 01 มิ.ย.2566 22:11น.

การเยี่ยมบ้าน

มาตรฐานบริการสาธารณสุข
 

ขอให้โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิส่งต่อการเยี่ยมบ้าน ให้แก่คลินิกหมอครอบครัวโดยไม่ต้องผ่านศูนย์บริการสาธารณสุข


ศบส.  ก  เมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2560 13:32น.

บทบาทของทีมหมอครอบครัว

ประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข
 

บทบาทของทีมหมอครอบครัวควรกำนหดให้มีความชัดเจน เด่นชัด และมีการประชาสัมพันธ์บทบาทให้มากขึ้นเพื่อให้ประชาชนทราบและเข้าใช้บริการได้


ศบส.  นันทนา เชี่ยวชาญ  เมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2560 12:50น.

การดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง

การรับรู้และคุ้มครองสิทธิ
 

อยากให้สิทธิประโยชน์คุ้มครองให้ครอบคลุมถึงวัสดุ อุปกรณ์ที่ต้องใช้กับผู้ป่วย


ศบส.  ุนันทนา เชี่ยวชาญ  เมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2560 11:51น.

การมีบุคคลากรทางด้านเทคนิคการแพทย์ในหน่วยบริการ

มาตรฐานบริการสาธารณสุข
 

ให้กรุงเทพมหานครมีบุคคลากรวิชาชีพ ทางห้องปฏิบัติการ (เทคนิคการแพทย์ ) ประจำที่ศูนย์บริการสาธารณสุขทุกแห่งเหมือนกัน เพื่อประโยชน์ในการให้บริการที่มีคุณภาพ มาตรฐาน


ศบส.  ศูนย์บริการสาธารณสุข  เมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2560 11:39น.

เพิ่มความเข้มแข็ง

มาตรฐานบริการสาธารณสุข
 

อยากให้สนับสนุนให้มีการพัฒนาบุคลากรในศูนย์บริการสาธารณสุข เพื่อเพิ่มความเข็มแข็งให้แก่หน่วยบริการ


ศบส.  กกก  เมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2560 11:35น.

เพิ่มความเข้มแข็งของการทำงานทีมหมอครอบครัว

ประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข
 

ขอให้ทีมหมอครอบครัวที่รับโครงการฯ เพิ่มความเข้มแข็ง ช่วยแบ่งเบาภาระของ ศบส. ในการดูแล
ผู้ป่วย ทำงานแบบเข้มแข็ง และครบวงจร พัฒนาการทำงานรูปแบบใหม่ๆ และทำอย่างต่อเนื่อง


ศบส.  คุณนันทนา เชี่ยวชาญ  เมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2560 11:29น.

การจัดประชุมร่วมกัน

มาตรฐานบริการสาธารณสุข
 

อยากให้มีการประชุมร่วมกันระหว่าง ศูนย์บริการสาธารณสุข รพ. และคลินิกชุมชนอบอุ่น โดยให้สปสช.เป็นคนจัดประชุม เพื่อให้มีความเชื่อมโยงกัน


ศบส.  กกก  เมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2560 11:29น.

ตั้งกองทุนสำหรับผู้ให้บริการ

การบริหารจัดการกองทุน
 

อยากให้มีกองทุนสำหรับผู้ให้บริการ เช่นการปรับปรุงสภาพแวดล้อม เนื่องจากงบค่าเสื่อมไม่สามารถใช้ได้ทุกเรื่อง อยากให้เปลี่ยนแปลงข้อกำหนดในการใช้งบประมาณ


ศบส.  กกก  เมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2560 11:26น.

การดูข้อมูล

การบริหารจัดการกองทุน
 

เสนอให้หน่วยบริการสามารถเรียกดูข้อมูลที่คีย์เบิกไปได้


ศบส.  กกก  เมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2560 11:24น.

ให้ไปรับลงทะเบียนที่หน่วยบริการ

การรับรู้และคุ้มครองสิทธิ
 

ควรมีเจ้าหน้าที่ไปรับลงทะเบียนที่ รพ./ศูนย์บริการสาธารณสุข เพื่อความสะดวกกับผู้ใช้บริการ


ศบส.  กกก  เมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2560 11:22น.

การเยี่ยมบ้าน

การบริหารจัดการกองทุน
 

การเยี่ยมบ้านโดยสหวิชาชีพ ควรจะสามารถเบิกจ่ายได้ทุกคนในวันเดียวกัน


ศบส.  กัลยารัตน์  เมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2560 11:19น.

เปลี่ยนสิทธิผู้พิการ

การรับรู้และคุ้มครองสิทธิ
 

การเปลี่ยนสิทธิผู้พิการ ขอร่นระยะเวลาให้ใช้สิทธิได้ทันทีเนื่องจากผู้พิการเดินทางลำบาก


ศบส.  กัลยารัตน์  เมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2560 11:17น.

การเยี่ยมบ้าน

การบริหารจัดการกองทุน
 

การเยี่ยมบ้านควรเปิดโอกาสให้มากกว่า 5 เคสต่อวัน เนื่องจากมีทีมเยี่ยมบ้านทั้งเช้าและบ่าย และควรเปิดเพิ่มช่วงเวลาเยี่ยม


ศบส.  กัลยารัตน์  เมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2560 11:15น.

อยากให้คลินิคร่วมตรวจคัดกรองกับศบส

การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
 

1. ทำความร่วมมือกับ ศบส การสร้างเสริมสุขภาพ hhc home visit มีการแชร์ข้อมูลและทำงานร่วมกัน
โดยสปสช ต้องกำหนดกดเกณฑ์การทำงานร่วมกัน


ศบส.  พี่กาญจนาการ ศบส 40   เมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2560 11:08น.

การขึ้นสิทธิผู้พิการ (หน่วยปฐมภูมิ)

การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
 

1. อยากให้ศบส ที่ทำงานร่วมกับคลินิคอบอุ่น มีการตรวจสอบในเรื่องสิทธิประโยชน์ที่ทับซ้อนและไม่ถูกต้อง
2. อยากให้สำนักงานมีเกณฑ์ในการปฏิบัติงานร่วมกัน ระหว่าง ศบสกับคลินิคอบอุ่น กรณีการมอบหมายพื้นที่ มีการตรวจสอบและการติดต่อ


ศบส.  พี่อ้อย  เมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2560 11:04น.

การให้บริการข้ามเขต

มาตรฐานบริการสาธารณสุข
 

หน่วยบริการมีการให้บริการข้ามเขต ทำให้หน่วยริการหลักไม่สามารถให้บริการและบันทึกข้อมูลเพื่อส่งเบิกได้ทัน อยากเสนอให้มีการแบ่งพื้นที่การให้บริการมี่ชัดเจน หรือให้หน่วยบริการที่เข้าไปให้บริการแจ้งหน่วยบริการหลักก่อน


ศบส.  คุณรรินทิพย์ วิชาญานนท์  เมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2560 11:01น.

ใช้ใช้สิทธิและเอกสารที่นำมาแสดง

การรับรู้และคุ้มครองสิทธิ
 

อยากให้มีการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับสิทธิการรักษาและการนำเอาสาร (บัตรประชาชน , สูติบัตร ) เพื่อใช้ในการเเสดงสิทธิทุกครั้งที่มารับบริการ


ศบส.  นางสาว ดาราพร ยอดดำเนิน  เมื่อวันที่ 27 เม.ย.2560 21:24น.

ประชาชนยังไม่เข้าถึงสิทธิการรักษาของตนเอง

การรับรู้และคุ้มครองสิทธิ
 

เมื่อมีผู้มาใช้บริการที่ศูนย์ทางศูนย์จะแจ้งสิทธิการรักษาของเขาให้ทราบทุกครั้งและได้แนะนำให้กลับไปใช้บริการตามสิทธินั้นๆ แต่ผู้ป่วยส่วนมากมักจะยอมที่จะขอชำระเงินเอง โดยจะอ้างว่าศูนย์อยู่ใกล้บ้านหรือไม่ก็ไม่ชอบการให้บริการที่ตัวมีสิทธิอยู่ จะขอย้ายมาที่ศูนย์ แต่เราก็ได้แจ้งว่าทางศูนย์เต็มแล้วไม่สามารถรับเพิ่มได้ ก็จะถามเสมอว่าเมื่อไรจะเปิดเพิ่ม เหตุนี้ขอให้ทางสปสช.พิจารณาด้วยนะคะ กรณีที่คนไข้ใช้บริการไม่ตรงตามสิทธินับว่าเป็นการรั่ไหลของค่าใช้จ่ายรายหัวที่ทางสปสช.เหมาจ่ายให้แก่หน่วยบริการนั้นๆไปแล้วเป็นอย่างมากเลยนะคะ ขอบคุณค่ะ


ศบส.  กรรณิการ์ สุนทรชาติ ศูนย์บริการสาธารณะสุข 54ทัศน์เอี่ยม   เมื่อวันที่ 27 เม.ย.2560 07:52น.

สิทธิ์ฉุกเฉิน

ปัญหาเฉพาะพื้นที่กรุงเทพมหานคร
 

กรณีผู้ป่วยฉุกเฉินที่มาใช้บริการที่ศูนย์บริการสาธารณสุข สามารถใช้สิทธิ์ฉุกเฉินได้ และเมื่อ refer ไป โรงพยาบาลก็สามารถใช้สิทธิ์ ฉุกเฉินได้ เนื่องจากผู้ป่วยฉุกเฉินหลายๆ ราย ไม่ได้นำเงินติดตัวมา ทำให้ศูนย์ฯ ต้องให้บริการฟรี บางครั้งญาติไม่เข้าใจว่าทำไมต้องชำระเงิน (กรณีผู้ป่วยฉุกเฉินที่ส่งต่อ รพ. ถ้าศูนย์ฯใช้สิทธิ์เบิกฉุกเฉิน ทาง รพ.จะเบิกฉุกเฉินไม่ได้).


ศบส.  สุธีตา สิงห์โตทอง 139/268 ซอยร่วมมิตรพัฒนา แยก 10 แขวงท่าแร้ง เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220  เมื่อวันที่ 26 เม.ย.2560 23:36น.

ไม่มี

ประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข
 

ไม่มี
ไม่มี


ศบส.  ชุติมา  เมื่อวันที่ 26 เม.ย.2560 19:33น.

-ไม่มี

ประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข
 

-ไม่มี

ไม่มี


ศบส.  พีรพงศ์  เมื่อวันที่ 26 เม.ย.2560 19:32น.

การออกกำลังกาย

ประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข
 

อยากให้ทีมงานของสาธารณสุขมาให้คำปรึกษาแรื่องการออกกำลังกายแก่ประชาชน


ศบส.  น.ส. กำไลทอง. วันทะวงษ์  เมื่อวันที่ 26 เม.ย.2560 17:13น.

เรื่องการเป็นอยู่ของประชาชน

ประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข
 

การดูแลเรื่องสุขภาพของประชาชน


ศบส.  อภิชญา สิชัยต๊ะ  เมื่อวันที่ 26 เม.ย.2560 17:11น.

ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการรักษาสุขภาพ

ประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข
 

อยากให้เข้ามาให้คำปรึกษาเรื่องของสุขภาพให้รับประชาชนที่ยังไม่สามาถรเข้าถึงได้


ศบส.  นส.กัลยา เลิศชัย  เมื่อวันที่ 26 เม.ย.2560 17:03น.

การประสานงานระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุขและรพ.

ปัญหาเฉพาะพื้นที่กรุงเทพมหานคร
 

การรับผู้ป่วยจากรพ.มารักษาต่อที่ศูนย์บริการสาธารณสุข หลายครั้งมีปัญหาว่าผู้ป่วยไม่มีประวัติการรักษาจากที่รพ.มาด้วย เนื่องจากทางรพ.ไม่อนุญาตให้ถ่ายสำเนาประวัติการรักษามาและแพทย์ที่ทำการรักษาไม่ได้สรุปประวัติมาให้เนื่องจากภาระงานเยอะ ทำให้เกิดผลเสียต่อตัวผู้ป่วยในการที่จะได้รับการรักษาต่อเนื่อง อยากให้ทางสปสช.กำหนดแนวทางในการส่งต่อจากรพ.มายังหน่วยบริการปฐมภูมิที่ผู้ป่วยจะมารับการรักษาโดยให้ทางรพ.ถ่ายสำเนาหรือสรุปประวัติการรักษามาให้ด้วยเพื่อประโยชน์ของผู้ป่วย


ศบส.  หมอครอบครัว  เมื่อวันที่ 26 เม.ย.2560 14:35น.

1. ปัญหาที่พบคือ การส่งต่อ ปฐมภูมิ สามารถส่งต่อรพ. ที่ไม่ใช่รพ. ทุติยภูมิได้ในกรณีใด

ปัญหาเฉพาะพื้นที่กรุงเทพมหานคร
 

บางครั้ง คนทำงานในหน้างาน ไม่ทราบว่าขอบเขตสิทธิ์มีแค่ไหน และไม่เข้าใจ ภาษาของการบัญญัติข้อกำหนด ทำให้ตีความไม่ถูกต้อง ควรมีตัวช่วย ในการทำให้เข้าใจง่ายขึ้นคะ ขอบคุณคะ
ถ้าได้ของรางวัล ขอ อะไรก็ได้คะ ขอบคุณคะ


ศบส.  สุกัญญา ลัภนะสินทรัพย์  เมื่อวันที่ 26 เม.ย.2560 10:31น.

การให้บริการของศูนย์ฯ ครอบคลุมการทำงาน4มิติทั้งพื้นที่

ประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข
 

การดำเนินงานของคลินิกเอกชนที่มีพื้นที่รับผิดชอบ ควรทำงานให้ครอบคลุมทั้ง4 มิติ โดยเฉพาะงานควบคุมโรค ซึ่ง ณ ปัจจุบัน ศูนย์ฯ ยังต้องเข้าไปดำเนินการควบคุมโรคให้ในพื้นที่ซึ่งเอกชนรับผิดชอบอยู่ สปสช.ควรหาข้อกำหนดในการดำเนินงานให้ครอบคลุม เพื่อแก้ปัญหาทั้ง 4 มิติ


ศบส.  สายฝน เลิศวาสนา  เมื่อวันที่ 26 เม.ย.2560 10:05น.

โปรแกรม OPPBKK CLAIM

การบริหารจัดการสำนักงาน
 

1. หน่วยบริการประจำ มีการปฎิเสธข้อมูลที่ไม่ได้มาตรฐาน (เช่น ผู้ป่วยมารับยา และมีใบส่งตัวด้วย) ทำให้ศูนย์ฯ ต้องตามแก้ไขอุทธรณ์
2. หน่วยบริการประจำ ต้องการผลเลือดทุกตัวที่เจาะ ถ้าศูนย์ฯ ใส่ไม่ครบก็จะถูกปฏิเสธ
3. ข้อมูลที่อุทธรณ์ส่งเข้าระบบมีการตรวจสอบช้ามาก


ศบส.  ศูนย์บริการสาธารณสุข กทม.  เมื่อวันที่ 26 เม.ย.2560 09:48น.

เรื่องการจัดสรรเงิน

การบริหารจัดการกองทุน
 

1. จัดสรรเงินค่อนข้างล่าช้า
2. ยอดเงินที่อุธรณ์ ควรแจ้งยอดว่าเป็นยอดของรายการอะไร และเดือนไหน
3. เงินของคลินิกส่งเสริมสุขภาพ (PP ใน) ควรแยกเป็นคลินิกให้ชัดเจน
4. การโอนเงินของ สปสช. ไม่บอกรายละเอียด ยอดกองทุนย่อยคืออะไร เดือนไหน (บางครั้งมีการรวมเงินจากหลายกองทุนมารวมในยอดเดียวกัน)


ศบส.  ศูนย์บริการสาธารณสุข กทม.  เมื่อวันที่ 26 เม.ย.2560 09:35น.

การประเมินตัวชี้วัด QOF

การบริหารจัดการสำนักงาน
 

การดึงข้อมูลเพื่อใช้ในการประเมินตัวชี้วัด QOF ไม่ชัดเจน ทำให้ยุ่งยากในการตรวจสอบ และพบว่าไม่ตรงตามความเป็นจริง


ศบส.  ศูนย์บริการสาธารณสุข กทม.  เมื่อวันที่ 26 เม.ย.2560 09:21น.

การจัดสรรเงินลงสู่หน่วยบริการ

ประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข
 

1.จัดสรรเงินค่อนข้างล่าช้า
2.ยอดเงินที่อุธรณ์ ควรแจ้งยอดว่าเป็นยอดของรายการอะไรและเดือนไหน
3.เงินของคลินิกส่งเสริมสุขภาพ (PP ใน) ควรแยกเป็นคลินิกให้ชัดเจน
4.การเบิกยาวัณโรคใช้โปรแกรมเดิมดีกว่ามาก


ศบส.  ศูนย์บริการสาธารณสุข 62  เมื่อวันที่ 25 เม.ย.2560 15:50น.

การดำเนินงานของคลินิกอบอุ่น

ปัญหาเฉพาะพื้นที่กรุงเทพมหานคร
 

ปัจจุบัน มีคลินิกอบอุ่น เข้าดำเนินการด้าน pp ในพื้นที่ของ ศบส.ซึ่งตามระเบียบ ไม่สามารถเบิกจ่ายเงินได้ แต่ประโยชน์ ประชาชน ได้รับ ศบส.เองก้อไม่สามารถเข้าไปดำเนินงานไเเอง ขอให้ คลินิกนั้น มาประสานงานกับ ศบส.เจ้าของพื้นที่ จับมือกันเป็นพันธมิตร ในการทำงาน โดยให้ข้อมูลแก่เจ้าของพื้นที่ เพื่อสามารถประเมินความครอบคลุมของบริการที่ประชาชนได้รับ ส่วนคลินิก ก้อรับค่าชดเชยไป


ศบส.  มณฑา บัวเกิด  เมื่อวันที่ 25 เม.ย.2560 15:38น.

การจ่ายค่าบริการ

ปัญหาเฉพาะพื้นที่กรุงเทพมหานคร
 

กทม.มีผู้อาศัยที่เป็นสิทธิ uc จากต่างจังหวัด จำนวนมาก งานบริการของศูนย์บริการสาธารณสุข ไม่วามารถเลือกให้บริการเฉพาะสิทธิ ได้ ขอให้ทบทวนค่ะ


ศบส.  มณฑา บัวเกิด  เมื่อวันที่ 25 เม.ย.2560 15:33น.

การปรับเปลี่ยนระบบหลักประกันสุขภาพ (สปสช.)

ประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข
 

1. สปสช. ไม่สามารถคืนข้อมูลที่หน่วยงานต้องการได้
2. ควรแยกรายละเอียดเงินที่โอนให้ศูนย์บริการสาธารณสุข แต่ละประเภทให้ชัดเจน
3. การคำนวณผลงานเป็นร้อยละ โดยมิได้คำนึงถึงปริมาณงาน และทรัพยากรนั้นไม่ถูกต้อง
4. การเบิกยาวัณโรคมีขั้นตอนยุ่งยากไม่สามารถได้รับการแก้ไข (ตั้งแต่ปรับปรุงโปรแกรมไม่เคยได้รับยา)
5. การเบิกเงิน E - Claim ของต่างจังหวัดมียอดรวม ไม่แยกรายละเอียดให้ชัดเจน
6. สปสช. ไม่สามารถคืนข้อมูลที่หน่วยงานต้องการ อยากได้ข้อมูลทุกเดือน
7. ผู้ป่วยสิทธิ์บัตรทอง , บัตรผู้พิการ ควรมีความชัดเจนในการจ่ายยานอกบัญชี เนื่องจากไม่มีแนวทางที่ชัดเจนในการจ่ายยา
นอกบัญชี ซึ่งยาบางรายการปีที่ผ่านมาสามารถเบิกได้ แต่ปัจจุบันไม่สามารถเบิกได้ เช่น KC balm ทำให้ผู้ป่วยต้องรับภาระเอง
8. การตรวจสอบเงินในคลินิกส่งเสริมlสุขภาพ อยากให้แยกเงินแต่ละคลินิกเพื่อความสะดวกในการตรวจสอบ


ศบส.  ศูนย์บริการสาธารณสุข 66  เมื่อวันที่ 25 เม.ย.2560 12:26น.